มีหลักสูตรหนึ่ง ซึ่งถูกออกแบบมาเพื่อสำหรับคนที่อยากจะรู้จักตนเอง พัฒนาตนเอง และสร้างความชัดเจนในตัวตน ภายใต้แนวคิดศาสตร์การโค้ช ของ โค้ชโจ Mirror Value Coach นั่นก็คือ
ประวัติความเป็นมาของ K.V.Y. System
K.V.Y. System เกิดจาก สรรพนาม คำหนึ่ง
เป็นทำไทยแท้ เรียกว่า คอ วอ ยอ ซึ่งเป็นหลักการแสวงหาความรู้ สู่วิธีคิด
มีวิสัยทัศน์กว้าง และมีจุดยืนที่มีความยืนหยัดชัดเจนในตัวตน โดยการรู้จักตนเอง
ซึ่งสมัยก่อน ณ.ช่วงเวลานั้น ซึ่งแปลความมาจากนักวิชาการ ที่แปลความว่า คิด
วิเคราะห์ แยกแยะ แต่ได้ถูกเอานำไปใช้ในหลักธรรม ภายใต้แนวคิดแบบ วิภัชชวาท
ที่ใช้ใน หลักการคิดอย่างมีสติ วิเคราะห์ แยกแยะจำแนก สาร และ
สิ่งที่เป็นข้อเท็จจริงของชีวิต และ
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นต่างๆที่มีผลกระทบต่อตัวตนของเรา ให้เกิดทางออกด้วย
แนวทางการคิด โยนิโส มนสิการ และมีการตั้งเวทีเสวนา เกิดขึ้น ด้วยความที่กระแสในคำนั้น
เงียบหายไป จึงมีการคิดค้น หลักการที่จะโค้ชให้ คนที่อยากรู้จักตนเอง
ในคุณค่าแห่งการยอมรับในสิ่งที่ตนเป็น จึงหยิบยกคำนี้ กลับมาใช้อีกครั้ง ด้วย
คำว่า
- Knowless
Thinker
- Vision
- Yes sir! To Yet
นั่นเอง และเป็นสูตร
ของการโค้ชที่นำพา พลิกชีวิต ผู้คนได้รู้จักตนเองมากขึ้น และสามารถชัดเจนในตัวตนอีกขั้นหนึ่ง
ซึ่งนำพาไปสู่ขั้น การสร้างสัมพันธ์ ปลุกพลัง และ ลงมือทำ
และทำให้ชีวิตคุณไปต่อได้ จนกว่าจะได้พบกับความสำเร็จที่น่าทึ่ง
และไม่เคยเจอมาก่อน นอกจากนี้
ระบบ K.V.Y. System หรือ
เรียกอีกในหนึ่งว่า
Kor (ค) คือ Knowless
thinker กระบวนแสวงหาความรู้
ด้วยวิธีคิด
Vor
(ว) คือ Vision สร้างวิสัยทัศน์
Yor
(ย) คือ Yes
sir! To Yet การค้นพบชัดเจนในตัวตน
ค.ว.ย ในสมัยก่อน อาจจะเป็น วาทศิลป์
ในสื่อสารที่ไม่สุภาพสำหรับคนส่วนใหญ่ที่ ทำการได้ยินกันมา เป็นคำด่าทอ บั่นทอน
ต่อว่า ในสถานการณ์ที่ ไม่ได้ดั่งใจใครยิ่งนัก
หรือใช้ในการมั่นไส้ด่าคนรอบข้างก็มี ทุกวันนี้ ยังใช้ในทางที่ไม่เหมาะสมเท่านั้นเอง
แต่ในทางกลับกัน ก็มีการใช้คำนั้น ถูกเอามาใช้เป็นศัพท์เชิงวิชาการ โดยทั่วไปนั้น
ค.ว.ย. แปลความว่า คิด วิเคราะห์ แยะแยก
คำว่า ค ว ย มาได้ยังไง ซึ่งคำนี้
มักก่อให้เกิดปัญหาในสังคม แม้แต่นักการเมือง นักวิชาการ
แม้แต่นักวิทยาศาสตร์เชิงจิตวิทยา ยังมีการถกเถียง แบบไม่จบไม่สิ้น ในขณะนั้นเอง
และมีการประชุมหลายๆรอบ จนตั้งเวทีเสวนาเกิดขึ้น ทำให้สรุปได้ชัดว่า ค ว ย คือ
หลักการคิด วิเคราะห์ แยกแยะ
ในปี2552 ช่วงกลางปี ขณะเดียวกัน
ก็มีการตั้งกระทู้ต่างๆ เกี่ยวกับเรื่อง ค.ว.ย. มีผู้เขียนท่านหนึ่ง ได้เล่าประสบการณ์เกี่ยวกับหลักการนี้
ซึ่งทำให้ที่ประชุม ตกตะลึงว่า คำสรรพนามสิ่งนี้ มีความเป็นไปได้ที่จะแปลเป็น
ศาสตร์แห่งความรู้ได้ แต่ทว่า ก่อนหน้านั้น ได้นำเรื่องนั้น
ออกมาทำเป็นเพลงอีกด้วย อาทิ
เพลง ค ว ย ศิลปิน Cruel Pistol ที่ร่วมทีมกับ
ดาจิม แร๊พไทย
เพลง คิด วิเคราะห์ แยกแยะ ศิลปิน
คุณเชษฐ์ สไมล์บัฟฟาโร่ ซึ่งปัจจุบันเป็นอาชีพ เกษตรกร
ในขณะเดียวกัน ปี 2554 ช่วงกลางปี ค ว
ย นอกเหนือจาก มีความหมายว่า คิด วิเคราะห์ แยกแยะ แล้ว
ยังสื่อถึงความหมายอื่นที่ไม่คาดคิดอีกมากมาย ทำให้เกิดข้อสงสัยเกิดขึ้น
ซึ่งมากจากเว็บไซด์ชื่อเว็บหนึ่ง หยิบหยกคำนี้มาตั้งกระทู้ อาทิ
ค ว ย คือ คุณค่า วิตามิน ใยอาหาร
คอย เวลา เยื่อใย
คณะกรรมการวิจารณ์เพลงหยาบคาย
คิดถึง ไว้ใจ ยังรัก
คิดดี มีคุณภาพ
วิสัยทัศน์กว้าง ยุติธรรม
คบหา วิวาห์ หย่าร้าง
ซึ่ง มีหลายเว็บแปลความ จากคำนั้น
ได้อย่างสร้างสรรค์ และทำให้ยอดขายบทความนั้นกระจายไปชั่วข้ามคืน แต่ยอดการค้นหา
ก็ไม่สามารถเป็นกระแสได้อย่างตลอด เพราะคนส่วนใหญ่ยังไม่เข้าใจสิ่งนั้น
และยังมองคำนั้นไปทางที่ ไม่เหมาะสมอยู่ดี ไม่แปลกที่
มีคนหลายกลุ่มที่มีความคิดเห็นที่ หลากหลาย ร้อยพ่อพันธุ์แม่
อยากให้วิเคราะห์เป็นสองแง่สองมุม
และ ในปี 2557 ณ.ปีนั้น ได้มีการสรุปความ
เกี่ยวกับ หลักการ ค ว ย อีกครั้ง ภายใต้แนวคิด ศาสตร์แห่งความรู้ของ วิภัชชวาท ซึ่ง
แปลความว่า คิด วิเคราะห์ แยกแยะ เช่นเดียวกัน แต่สิ่งที่น่าประหลาดใจ
ในขณะเดียวกันคือ เขาใช้หลักการทางธรรมะ เข้ามาเติมเต็ม แนวคิดในคำนี้ ด้วยการ
กระบวนการคิด ส่งผลต่อการวิเคราะห์ ก่อให้เกิดประมวล แยะแยก และจำแนก สาร หรือ
เนื้อหา สิ่งที่เป็นข้อเท็จจริง ออกไป ด้วย หลักการคิดแบบ โยนิโส มนสิการ
เป็นแหล่งอ้างอิง ซึ่งทำให้สังคมไทย เข้าใจส่วนหนึ่ง และ
ทำให้บทความนี้ดังไปชั่วข้ามคืน แต่ยังไม่มีใคร หรือ โค้ชคนไหน
ถูกเอาออกมาใช้สิ่งนั้นได้เลย
ในขณะนี้ ได้ถูกใช้กลายเป็นศาสตร์การโค้ช
ที่จะตั้งระบบ K.V.Y.
System ภายใต้แนวคิด ของ
โค้ชโจ Mirror Value Coach จะเกิดอะไรขึ้นต่อการนำเรื่องนี้สำหรับ
ผู้ที่ต้องการพลิกชีวิตในการรู้จักตนเอง ด้วย ค.ว.ย. และใช้หลักการใดที่สามารถวัดค่าได้
ทำให้รู้จักตนเองให้ดีขึ้น อย่างไร
วัตถุประสงค์ของ ศาสตร์การโค้ชด้วย K.V.Y. System Coaching
1. แสวงหาความรู้
และเสริมวิธีคิดของตัวตนของเรา ให้อยู่ในเชิง ข้อเท็จจริงของชีวิต
2. จัดการตนเอง โดยการวิเคราะห์ถึง
วิสัยทัศน์ การมองไกล หรือ ภาพของตัวคุณ ที่ยืนอยู่ตรงนั้นเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ
ให้ตนเอง
3.หาความชัดเจนในตัวตน
ถึง ความต้องการ ที่จะประสบความสำเร็จ ในแบบที่ควรจะเป็น
ว่าอยากจะทำอะไรให้เป็นจริง ในชีวิต ทำให้มีความสุข 100%
ดังนั้น K.V.Y. System หรือ ค ว ย
ในศาสตร์แห่งการโค้ช แปลความนี้ว่า คิด วิเคราะห์ แยกแยะ แต่เรียกอีกในหนึ่งเป็น หลักการ
คิด เห็น ชัด
- หลักการแสวงหาความรู้ เสริมวิธีคิด เพื่อการพัฒนา
- จับวิสัยทัศน์
ถึงตัวตน และปลุกศักยภาพ
- ชัดเจนในตัวตน ถึงความต้องการที่แท้จริง
ที่ยังคงทำสิ่งนั้น เป็นจริง
สรุป หลักการ คิด วิเคราะห์ แยกแยะ ได้เพิ่มอีกความหมายหนึ่ง
ในศาสตร์แห่งการโค้ช ว่า
แสวงหาความรู้ สู่วิธีคิด ที่วิสัยทัศน์
สู่ความชัดเจนในตัวตน K.V.Y.
System จึงเป็นระบบที่ทำได้จริง และทำไปแล้ว ด้วยหลักการรู้จักตนเอง
ในคุณค่าแห่งการยอมรับในสิ่งที่ตนเป็น อีกขั้นหนึ่ง ซึ่งระบบนี้สามารถ
ใช้ในชีวิตประจำวันได้ ด้วยการวิเคราะห์ การหาทางแก้ และการใช้เวลากับตนเอง ได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น